วันเสาร์ที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2553
วันพุธที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2553
องค์ประกอบของการออกแบบ
องค์ประกอบของการออกแบบ ( ELEMENT OF DESLGN )
- สี
- The color Wheel ( หาภาพประกอบ เข้าหาแม่สี) ( วงจรสี )
- Hue คือ ตัวสี หรือ เนื้อสี
- Saturation คือ แบบว่า ขาวจั้ว เหลืองอ๋อย ดำปี้ ความจัดจ้านของตัวสี
- Value คือ ค่าน้ำหนักของสี
สี Color
- C M Y K ระบบการพิมพ์ 4 สี คือ
1.น้ำเงิน CYAN ( C )
2.แดง MAGENTA ( M )
3.เหลือง YELLOW (Y)
4.ดำ BLACK (K)
- R G B คือระบบของแสง
สีแดง Red (r)
สีเขียว Green (g)
สีน้ำเงิน Blue (b)
หลักการเลือกสี ( Color combination )
1.) Monochromatic การใช่สีเดียว สร้างความแตกต่างด้วยระดับความ มืด สว่างของสี
2.) Triads คือการใช้สี 3 สีที่อยู่ตรงข้ามกัน เพื่อให้เกิดความแตกต่างของสีอย่างชัดเจน
3.) Analogous คือ การใช้สีที่อยู่ติดกัน ในวงจรสี สามารถสร้างความกลมกลืนได้ดี
4.) Complementary คือ การใช้สีตรงข้ามกัน สามารถช่วยเน้นความโดดเด่นได้ดี ควรใช้สีดำ เพื่อลดความรุนแรงของสี
5.) Split - Complements คือ การใช้สีแบบผสม เป็นการผสมผสานระหว่างสี โทรร้อนและเย็นโดยการเลือกสีใดสีหนึ่งและจับคู่กับอีก 2 สีในโทนสีที่ตรงข้ามกัน
- สี
- The color Wheel ( หาภาพประกอบ เข้าหาแม่สี) ( วงจรสี )
- Hue คือ ตัวสี หรือ เนื้อสี
- Saturation คือ แบบว่า ขาวจั้ว เหลืองอ๋อย ดำปี้ ความจัดจ้านของตัวสี
- Value คือ ค่าน้ำหนักของสี
สี Color
- C M Y K ระบบการพิมพ์ 4 สี คือ
1.น้ำเงิน CYAN ( C )
2.แดง MAGENTA ( M )
3.เหลือง YELLOW (Y)
4.ดำ BLACK (K)
- R G B คือระบบของแสง
สีแดง Red (r)
สีเขียว Green (g)
สีน้ำเงิน Blue (b)
หลักการเลือกสี ( Color combination )
1.) Monochromatic การใช่สีเดียว สร้างความแตกต่างด้วยระดับความ มืด สว่างของสี
2.) Triads คือการใช้สี 3 สีที่อยู่ตรงข้ามกัน เพื่อให้เกิดความแตกต่างของสีอย่างชัดเจน
3.) Analogous คือ การใช้สีที่อยู่ติดกัน ในวงจรสี สามารถสร้างความกลมกลืนได้ดี
4.) Complementary คือ การใช้สีตรงข้ามกัน สามารถช่วยเน้นความโดดเด่นได้ดี ควรใช้สีดำ เพื่อลดความรุนแรงของสี
5.) Split - Complements คือ การใช้สีแบบผสม เป็นการผสมผสานระหว่างสี โทรร้อนและเย็นโดยการเลือกสีใดสีหนึ่งและจับคู่กับอีก 2 สีในโทนสีที่ตรงข้ามกัน
วันอาทิตย์ที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2553
การใช้ตัวอักษร ( TYPOGRAPHY )
รูปแบบของ Typef มักจะแตกต่างไปทางรูปแบบและอารมณ์ที่แตกต่างกัน และควรนำมาใช้ให้เข้ากับูปแบบงานของตนเอง
คำศัพท์
Typo + ความหมาย
'' TYOGRAPHY'' การใช้ตัวอักษรหรือการจัดการตัวอักษร
''FONT'' ( TYPEFACES ) ชุดรูปแบบตัวอักษร
''FONT FAMILIES ''ตระกูลของชุดรูปแบบตัวอักษร เช่น ตัวธรรมดา ตัวหนา ตัวเอียง ฯลฯ
ส่วนประกอบของ Font
1. มีเชิง
2. ไม่มีเชิง
3. แบบลายมือเขียน
4. Noverlty font ประเภท แฟชั่นๆ
5. Dingbat (Ornament)
ขนาด หน่วย = points ( 72 Ponits = 1 นิ้ว ) แบบตัวอักษรที่แตกต่างกัน มีขนาด Ponits เท่ากันไม่จำเป็น ต้องมีความสูงเท่ากัน
TYPO + การผสมตัวอักษร
1. ตักอักษรที่ไม่มีเชิงผสมกับตัวอักษรตัวหน้า มีขา ตัวอักษรแบบมีความแตกต่างด้วยน้ำหนักและขนาด ทำให้เกิดความโดดเด่นได้ง่าย
COMBLNING
2. ตัวอักษรที่่ไมามีขา ผสมกับตัวอัษรมีขาการผสมอักษรแบบนี้ไม่มีจุดเด่นเนื่องจากตัวอักษรมีสองแบบไม่มีควมแตกต่างกันด้วยน้ำหนัก
3. ความแตกต่างอย่างชัดเจนของตัวอักษรแบบนี้เหมาะสำหรับงานพัฒนาแนวความคิด
4. การผสมแบบหลากหลาย สามารถสร้างความแตกต่างได้อย่างหลากหลาย
คำศัพท์
Typo + ความหมาย
'' TYOGRAPHY'' การใช้ตัวอักษรหรือการจัดการตัวอักษร
''FONT'' ( TYPEFACES ) ชุดรูปแบบตัวอักษร
''FONT FAMILIES ''ตระกูลของชุดรูปแบบตัวอักษร เช่น ตัวธรรมดา ตัวหนา ตัวเอียง ฯลฯ
ส่วนประกอบของ Font
1. มีเชิง
2. ไม่มีเชิง
3. แบบลายมือเขียน
4. Noverlty font ประเภท แฟชั่นๆ
5. Dingbat (Ornament)
ขนาด หน่วย = points ( 72 Ponits = 1 นิ้ว ) แบบตัวอักษรที่แตกต่างกัน มีขนาด Ponits เท่ากันไม่จำเป็น ต้องมีความสูงเท่ากัน
TYPO + การผสมตัวอักษร
1. ตักอักษรที่ไม่มีเชิงผสมกับตัวอักษรตัวหน้า มีขา ตัวอักษรแบบมีความแตกต่างด้วยน้ำหนักและขนาด ทำให้เกิดความโดดเด่นได้ง่าย
COMBLNING
2. ตัวอักษรที่่ไมามีขา ผสมกับตัวอัษรมีขาการผสมอักษรแบบนี้ไม่มีจุดเด่นเนื่องจากตัวอักษรมีสองแบบไม่มีควมแตกต่างกันด้วยน้ำหนัก
3. ความแตกต่างอย่างชัดเจนของตัวอักษรแบบนี้เหมาะสำหรับงานพัฒนาแนวความคิด
4. การผสมแบบหลากหลาย สามารถสร้างความแตกต่างได้อย่างหลากหลาย
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)